งานวันรวมน้ำใจ มจพ. จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงการก่อตั้งมหาวิทยาลัย ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ก่อตั้งขึ้นด้วยความร่วมมือทางด้านวิชาการและเศรษฐกิจระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลเยอรมัน เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 จนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 64 ปี
มจพ. เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐที่มุ่งเน้นการพัฒนาคน พัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อสร้างสรรค์องค์ความรู้ วิชาการชั้นสูง งานวิจัยพัฒนา สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม และเพื่อแสดงความเคารพผู้มีอุปการคุณแก่มหาวิทยาลัย ส่งเสริมรักความสามัคคีระหว่างคณาจารย์ ศิษย์เก่าและบุคลากร
ตลอดจนเพื่อเผยแพร่ผลงานชื่อเสียงและเกียรติภูมิของมหาวิทยาลัย พร้อมกับประกาศเกียรติคุณศิษย์เก่าดีเด่นและผู้ปฏิบัติงานดีเด่น รวมทั้งผู้ทำคุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัยด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องและเป็นประจำทุกปี จึงกำหนดจัดงานวันรวมน้ำใจชาว มจพ. ในศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 ครบ 64 ปี “64 ปี มจพ. นวัตกรรมวิถี สู่เทคโนโลยีที่ยั่งยืน”
ณ ห้องรับรองอาคารนวมินทรราชินี
ณ ลานอาคารอเนกประสงค์
ณ ลานทวาปูชนียาจารย์ อาคารบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธร ไทย-เยอรมัน
ณ ห้องประชุมประดู่แดง อาคารอเนกประสงค์ ชั้น 2
พิธีรำลึกถึงทวาปูชนียาจารย์ เพื่อแสดงความเคารพและร่วมรำลึกถึง ศาสตราจารย์
ดร.บุญญศักดิ์ ใจจงกิจ อาจารย์และผู้บริหารชาวไทยคนแรก
ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งและผู้บุกเบิก มจพ. และ Dip. Ing. Karl Stützle
อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญชาวเยอรมันคนแรก ซึ่งได้ร่วมกันสร้างสรรค์และวางรากฐานรูปแบบการศึกษาแบบเยอรมัน
ให้มีความเข้มแข็ง มั่นคง และมีชื่อเสียงเด่นดังเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในนาม “เทคนิคไทย-เยอรมัน”
โดยในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ วันคล้ายวัสถาปนามหาวิทยาลัย คณะผู้บริหาร
คณาจารย์ ศิษย์ปัจจุบัน ผู้เกษียณอายุราชการ บุคลากร เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศ
พร้อมเพรียงเข้าร่วมในพิธีรำลึกถึงปูชนียาจารย์ 2 ท่าน
ณ ลานหน้าอาคารบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธร ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเล็งเห็นความสำคัญในการมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว อย่างยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
จึงได้จัดเตรียมต้นกล้วยไม้ซึ่งเป็นดอกไม้ประจำวันครู เพื่อแสดงความระลึกถึงคุณครูทั้งสองท่านไว้สำหรับผู้เข้าร่วมพิธี
และจะนำไปเป็นประโยชน์สาธารณะให้กับมหาวิทยาลัยต่อไป
ดอกกล้วยไม้ นั้นเป็นดอกไม้ประจำวันครู เป็นพืชที่อยู่ในที่สูงทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศไม่ร่วงโรยง่ายเปรียบเหมือนครูที่อยู่ทั่วแดนไทย ที่ต้องอดทนต่อสู้เพื่ออุดมการณ์ และอุทิศตนเพื่อการศึกษาของชาติ โดยพิจารณาเห็นว่าธรรมชาติของ ดอกกล้วยไม้ มีลักษณะคล้ายคลึงกับงานจัดการศึกษา และสภาพชีวิตของครู ดังคำกลอนของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ที่ว่า
รำลึกถึงปูชนียาจารย์ผู้ซึ่งก่อตั้งและเคารพยิ่งของชาว มจพ.
ศูนย์วิจัยการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลศูนย์วิจัยดีเด่น
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยนวัตกรรมอัจฉริยะและพลวัตรไม่เชิงเส้น
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชิต จิตพัฒนกุล เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลชนะเลิศรางวัลศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีการเผาไหม้และพลังงานทางเลือก
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.กัมปนาท เทียนน้อย เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลชนะเลิศศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านผลงานวิจัย พัฒนา บริการวิชาการ จากแหล่งทุนภายนอก
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยการเผากากของเสีย
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.สมรัฐ เกิดสุวรรณ เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านผลงานวิจัย พัฒนา บริการวิชาการ จากแหล่งทุนภายนอก
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยผลิตภัณฑ์และพลังงานหมุนเวียน
โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.จันทรพร ผลากรกุล เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับสองศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านผลงานวิจัย พัฒนา บริการวิชาการ จากแหล่งทุนภายนอก
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลชนะเลิศศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านทรัพย์สินทางปัญญา
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีการเผาไหม้และพลังงานทางเลือก
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.กัมปนาท เทียนน้อย เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านทรัพย์สินทางปัญญา
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยเฉพาะทางด้านอาหารและอุตสาหกรรมเกษตร
โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.วิไล รังสาดทอง เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับสองศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านทรัพย์สินทางปัญญา
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยการเผากากของเสีย
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.สมรัฐ เกิดสุวรรณ เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับสองศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านทรัพย์สินทางปัญญา
ดูผลงาน
ศูนย์ระบบการจัดการขั้นสูงทางวิศวกรรมอุตสาหการ
โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.อรรถกร เก่งพล เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับสองศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านทรัพย์สินทางปัญญา
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยผลิตภัณฑ์และพลังงานหมุนเวียน
โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.จันทรพร ผลากรกุล เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลชนะเลิศศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านส่งเสริมชื่อเสียงตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีนวัตกรรมดิจิทัลและแม่เหล็กไฟฟ้า
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพงษ์ เลิศวิริยะประภา เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านส่งเสริมชื่อเสียงตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย
ดูผลงาน
ศูนย์วิจัยการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ เป็นหัวหน้าศูนย์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับสองศูนย์วิจัยโดดเด่นด้านส่งเสริมชื่อเสียงตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย
ดูผลงาน
รองศาสตราจารย์ ดร. รังสิมา หญีตสอน
รองศาสตราจารย์ ดร. นพวรรณ ชนัญพานิช
ผศ.ดร.สุนันทา ช่วยประคอง
รางวัลเหรียญทอง (Gold Medal)
ดูผลงาน
รองศาสตราจารย์ ดร. สายประสิทธิ์ เกิดนิยม
รองศาสตราจารย์ ดร. จุฬาลักษณ์ ค้าไม้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สหรัฐ ฉันทานุมัติอาภรณ์
นายมานัส แดงชาติ
นายอิสรา โรจนะ สังกัด
รางวัลส่งเสริมความปลอดภัยทางถนนนานาชาติ
ดูผลงานLorem Ipsum is simply dummy text of the printing and typesetting industry. Lorem Ipsum has been the industry's standard dummy text ever since the 1500s, when an unknown printer took a galley of type and scrambled it to make a type specimen book. It has survived not only five centuries, but also the leap into electronic typesetting, remaining essentially unchanged. It was popularised in the 1960s with the release of Letraset sheets containing Lorem Ipsum passages, and more recently with desktop publishing software like Aldus PageMaker including versions of Lorem Ipsum.